ดร.บี ซี วูฟเวอร์ตัน (Dr. B.C. Wolverton) นักวิจัยแห่งสถาบันวิจัยอวกาศนาซ่า สหรัฐอเมริกา ได้ทำการวิจัยมาเป็นเวลากว่า 25 ปี จนค้นพบความสามารถ และประสิทธิภาพของไม้ประดับในการกำจัดสารพิษหรือมลภาวะในอากาศได้อย่างดีเยี่ยม และผลการวิจัยนี้ก็ได้เผยแพร่ออกไปทั่วโลก
ดร.บี ซี วูฟเวอร์ตัน ได้เขียนหนังสือ Eco-Friendly House Plant หรือ ไม้ประดับที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยแนะนำไม้ดอกไม้ประดับ 50 ชนิด ที่มีความสามารถในการดูดไอพิษจากอากาศ ไม่ว่าจะเป็นฟอร์มาดิไฮด์ แอมโมเนีย ไซลีน ทูลีน รวมทั้งไอเสียที่เกิดจากมนุษย์ ซึ่งไม้ประดับส่วนใหญ่ที่ ดร.วูฟเวอร์ตันแนะนำนั้นเป็นไม้ประดับที่เราคุ้นหน้าคุ้นตาเป็นอย่างดี เป็นไม้ประดับที่สวยงาม ดูแลรักษาง่าย เป็นไม้ประดับที่นิยมปลูกกันโดยทั่วไป เพียงแต่เราไม่เคยได้ล่วงรู้ถึงคุณสมบัติในการดูดสารพิษของไม้ประดับเหล่านี้มาก่อน
ที่มา วารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ ฉบับที่ 8/2542 กันยายน พ.ศ. 2542
บอสตันเฟิน | เบญจมาศ | เยอบิร่า | สิบสองปันนา | วาสนาราชินี | ปาล์มไผ่ | เฟิร์นดาบออสเตรเลีย |
ยางอินเดีย | ตีนนตุ๊กแกฝรั่ง | ไทรย้อยใบแหลมเดหลี | หมากเหลือง | วาสนาอธิษฐาน | จั๋ง | หนวดปลาหมึก | เข็มริมแดง | ประกายเงิน | เศรษฐีไซ่ง่อน | กล้วยไม้หวาย | สาวน้อยประแป้ง
ทิวลิป | ไทรใบเล็ก | เสน่ห์จันทน์แดง | ปาล์มใบไผ่ | กุหลาบพันปี | เขียวหมื่นปี | เศรษฐีเรือนใน | กล้วยแคระ | มรกตแดง | สโนว์ดรอป
| ฟิโลหูช้าง | พลูด่าง | สนฉัตร | บิโกเนียใบมัน | แววมยุรา | ไอวี | มังกรคาบแก้ว | ฟิโลเซลลอม | เงินไหลมา | ฟิโลใบหัวใจ
หน้าวัวเปลวเทียน | คล้าหางนกยูง | คริสต์มาส | ไซคลาเมน | กล้วยไม้ฟาแลนอปซีส | สับปะรดสี | โกสน | ลิ้นมังกร | ว่านหางจระเข้ | กุหลาบหิน
ที่มา : http://www.panmai.com/Pollution/Pollution.shtml
|