เมนู
บทความ
บทความวิชาการ
>> อาเซียน
>> พรบ.การศึกษา
>> การจัดการเรียนรู้
>> คุณลักษณะนิสัย
>> วัดผลประเมินผล
>> ระบบดูแลนักเรียน
>> วิจัยในชั้นเรียน
>> หลักสูตร 2551
บทความวิทยาศาสตร์
>> รวมคำขวัญวันวิทยาศาตร์
>> เกิดอะไรขึ้นในสมอง
>> science-news
>> สีสันวิทยาศาสตร์
>> วิทยาศาสตร์น่ารู้
>> วิทย์ระดับประถม
>> คลังความรู้วิทยาศาสตร์
>> 10 กลวิทยาศาสตร์สนุก
>> เด็กวิทย์สนุกคิด
>> เทคโนโลยีและชีวภาพ
>> วิทยาศาสตร์มหัศจรรย์
>> นิทานวิทยาศาสตร์
>> เกร็ดวิทย์ชวนรู้
>> บทความวิทยาศาสตร์
>> ข่าววิทยาศาสตร์
>> การทดลองวิทยาศาสตร์
บทความน่าสนใจ
>> เอลนีโญและลานีญา
>> พืชสมุนไพร
>> เตรียมตัวสู้น้ำท่วม
>> สื่ออีเลิร์นนิ่ง
>> สื่อ Teblet
>> สึนามิ
>> ข้อคิด คติเตือนใจ
>> ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
>> พืชดูดสารพิษ
บทความสุขภาพ
>> ผักบุ้งนา ประหยัดสุด
>> อาบน้ำลดน้ำหนัก
>> ช่วยตับขับพิษ
>> การแกว่งแขนบำบัด
>> ครีมเทียม ยิ่งมากยิ่งเสี่ยง
>> ของเสียในร่างกาย
>>12 วิธีการลดคลอเลสเตอรอล
>> 15 วิธีลดไขมัน
>> สมุนไพรลดไขมัน
>> บ้านสุขภาพ
>> อาหารกลางวัน
>> คำนวณภาวะโภชนาการ
>> โภชนาการน่ารู้
>> ธงโภชนาการ
>> 10 อย่างที่ควรรับประทาน
>> อาหารสุขภาพ
>> อาหารและสุขภาพ
>> สาระน่ารู้ต่างๆ นาๆ
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   
สถิติ
เปิดเมื่อ17/04/2012
อัพเดท31/12/2015
ผู้เข้าชม404006
แสดงหน้า524375


'ซูเปอร์มูน'ใหญ่

อ่าน 215 | ตอบ 0

'ซูเปอร์มูน'ใหญ่กว่าปกติ14%

ปรากฏการณ์ 'ซูเปอร์มูน' หรือพระจันทร์เต็มดวง ในช่วงที่โคจรใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี สามารถมองเห็นได้ชัดเจนในหลายพื้นที่เมื่อคืน (23 มิ.ย.) ครั้งต่อไป 10 ส.ค. 57

                          24 มิ.ย. 56  ปรากฏการณ์ซูเปอร์มูน หรือพระจันทร์เต็มดวง ที่ดวงจันทร์เข้ามาใกล้โลก และทำให้ท้องฟ้าทั่วโลกสว่างไสวที่สุด คนบนโลกสามารถมองเห็นดวงจันทร์มีขนาดใหญ่กว่าปกติ เนื่องจากดวงจันทร์โคจรเข้าใกล้โลกที่สุดในรอบปี ที่ระยะห่าง 357,000 กิโลเมตร และเป็นวันที่ดวงจันทร์เต็มดวงพอดีเมื่อคืนที่ผ่านมา (23 มิ.ย.)

                          ในพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน สามารถมองเห็นดวงจันทร์ได้อย่างชัดเจนเมื่อวันอาทิตย์ ขณะโคจรรอบโลก // นักดาราศาสตร์ได้เปรียบปรากฏการณ์นี้ว่า ' ซูเปอร์มูน ' เนื่องจากมีขนาดใหญ่กว่าปกติถึง 14 เปอร์เซ็นต์ แต่จะไม่สามารถมองเห็นความแตกต่างได้ด้วยตาเปล่า

                          นักดาราศาสตร์ชี้ว่า นับเป็นช่วงเวลาที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง ที่ได้ดูปรากฏการณ์นี้ และพบว่า ในช่วงที่เกิดปรากฏการณ์ ได้มีคลื่นสูง แต่ส่งผลประทบต่อโลกเพียงเล็กน้อย

                          สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ ระบุว่า การที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ทำให้ทิศทางของแรงกระทำต่อโลกมีการเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์น้ำขึ้น น้ำลง ซึ่งถือว่าเป็นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ ดังนั้นการที่ผู้คนบนโลกสามารถมองเห็นดวงจันทร์เต็มดวงในคืนที่มีวงโคจรมาใกล้โลก นับว่าเป็นเรื่องปกติที่สามารถอธิบายได้ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ และสำหรับปรากฏการณ์ดวงจันทร์ใกล้โลกที่สุดครั้งต่อไป จะเกิดขึ้นในวันที่ 10 สิงหาคม 2557 ที่ระยะห่าง 356,896 กิโลเมตร

-----------------------

(หมายเหตุ : ที่มาภาพ : AP)
ที่มา http://www.komchadluek.net/detail/20130624/161786/%E0%B8%8B%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%B414.html

 

 

ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 


Web Master : ครูนงลักษณ์

นงลักษณ์ ชูทัน
  น.ส.นงลักษณ์ ชูทัน

สารพัดลิงค์







เรื่องน่ารู้



ผู้ที่เป็นครูจะต้องถือเป็นหน้าที่อันดับแรก ที่จะต้อง ให้การศึกษา คือ สั่งสอนอบรมอนุชนให้ได้ผลแท้จริง ทั้งในด้านวิชาความรู้ ทั้งในด้านจิตใจ และความประพฤติ ทั้งต้องคิดว่างานที่แต่ละคนกำลังทำอยู่นี้คือความเป็นความตายของประเทศ เพราะอนุชนที่มีความรู้ความดีเท่านั้นที่จะรักษาชาติบ้านเมืองไว้ได้…
(พระราชดำรัส : ๒๕๑๕)